การศึกษาคุณลักษณะของบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณลักษณะของบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วิธีดำเนินการวิจัยมีขั้นตอน คือ การศึกษาคุณลักษณะของบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา รุ่น22 -23 ปีการศึกษา 2564 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จำนวน 180 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน มือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามคุณลักษณะบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะของบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.73
References
ตันติกร ขุนาพรม. (2558). การพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะในศตวรรษที่ 21 ของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยของรัฐ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.สาขาวิชาวิจัยและประเมินผล การศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เพลินพิศ ศิริสมบูรณ์. (2558). คุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของวิทยาลัยเซาธ์อิสท์บางกอก ประจำปีการศึกษา 2556-2557. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยเซาส์อีสท์บางกอก.
วรรณวิภา จัตุชัยและคณะ. (2553). รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาความต้องการของบัณฑิตและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏตามทัศนะของผู้ประกอบการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
วัชรินทร์ ศรีรักษา(2554).การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาทัศนศิลป์โดยใช้รูปแบบการสอนแบบซิปปา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ขอนแก่น:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). สภาวะการศึกษาไทยปี 2559/2560 แนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ยุค Thailand 4.0. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
Best, John W. 1977. Research in Education. 3rd ed. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall, Inc.
Likert, Rensis. 1967. “The Method of Constructing and Attitude Scale”, Reading in Attitude Theory and Measurement. P.90-95. Fishbeic, Matin, Ed. New York: Wiley & Son.
Robert V. Krejcie and Earyle W. Morgan. Educational and Psychological Measurement, 1970: 608-609.
Copyright (c) 2021 วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.