ผู้หญิงกับสิทธิเสรีภาพทางร่างกายภายใต้ระบบปิตาธิปไตย ที่ปรากฏในนวนิยายเชิงอัตชีวประวัติ เรื่อง คิมจียอง เกิดปี 82
Abstract
บทความวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สิทธิเสรีภาพทางร่างกายของผู้หญิงภายใต้ระบบปิตาธิปไตยที่ปรากฏในนวนิยายเชิงอัตชีวประวัติ เรื่อง คิมจียอง เกิดปี 82 จากการศึกษาพบว่า ระบบปิตาธิปไตยได้เข้ามาควบคุมชีวิตผู้หญิงให้ปฏิบัติไปในตามแบบที่ต้องการ โดยเฉพาะร่างกายของผู้หญิงที่มักจะถูกควบคุมมากที่สุดและผู้หญิงมักไม่มีสิทธิเสรีภาพในร่างกายตัวเองมากนัก รวมไปถึงการโดนเอาเปรียบ การกลั่นแกล้งและการล่วงละเมิดทางเพศด้วย อย่างไรก็ตาม พบว่าผู้หญิงพยายามที่จะต่อสู้เพื่อสิทธิของตัวเอง ไม่ยินยอมต่อระบบชายเป็นใหญ่ ซึ่งนำไปสู่การตื่นตัวของผู้หญิงในสังคมเกาหลีด้วย
References
โช นัม-จู (Cho Nam-joo). (2563). คิมจียอง เกิดปี 82. แปลโดย ตรองสิริ ทองคำใส. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เอิร์นเนสพับลิชชิ่ง.
ดำรงค์ ฐานดี. ผู้หญิงในสังคมเกาหลี. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2564. จาก http://www3.ru.ac.th /korea/article.htm.
เสนาะ เจริญพร. (2548). ผู้หญิงกับสังคมในวรรณกรรมไทยยุคฟองสบู่. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.
By Claire Lee. (2018). Feminist novel becomes center of controversy in South Korea. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563. จาก http://www. koreaherald.com/view.php?ud=20180327000799.
SHIN JOON-BONG. (2017). Bringing to light the subtle sexism in modern Korea: Cho Nam-joo’s book reflects the discrimination many women face daily. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2564).จาก https://koreajoongangdaily.joins .com/news/article/article.aspx?aid=3038016.
Copyright (c) 2021 วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.